THE ULTIMATE GUIDE TO สังคมผู้สูงอายุ

The Ultimate Guide To สังคมผู้สูงอายุ

The Ultimate Guide To สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

“หากอยู่อาศัยกับบุตรหลานโดยตรง ผู้สูงอายุมักจะไม่ได้รับเงินจากบุตรหลานมากนัก แต่จะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดแทน ตรงข้ามกับผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ลำพังที่จะได้รับเงินจากบุตรหลาน แต่ขาดการดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เพราะบุตรหลานอยู่ไกลจากพ่อแม่ การถ่ายโอนเงินและเวลาในครอบครัวสะท้อนถึงค่านิยมเรื่องของความกตัญญู” รศ.ดร.นพพล เผย

ทุนการศึกษา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ ประยุกต์และการวิจัยทางสังคม (หลักสูตรนานาชาติ)

การสมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต

สังคมไทยยังมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกี่ยวกับ “คุณค่า” หรือ “ฐานคิด” โดยเฉพาะการออกแบบระบบความคุ้มครองทางสังคม หากสามารถทำให้เกิดข้อสรุปที่ยอมรับร่วมกันจากภาคส่วนต่าง ๆ ก็จะเป็นหัวใจในการกำหนดทิศทางนโยบายได้อย่างราบรื่น ยกตัวอย่างเช่น การดูแลผู้สูงอายุโดยครอบครัวอาจจะเป็นกระแสหลัก โดยบางพื้นที่ชุมชนเข้มแข็งพอที่จะช่วยกันดูแลผู้สูงอายุ แต่สำหรับหลายครอบครัวหรือหลายชุมชนอาจจะไม่เป็นเช่นนั้น การสร้างหลักประกันด้านรายได้ยามชราภาพด้วยระบบบำนาญและการออมก็ขึ้นอยู่กับการให้คุณค่าเช่นกัน เราจะเลือกฐานคิดความรับผิดชอบส่วนบุคคล (เน้นการออมส่วนบุคคล) การช่วยเหลือเกื้อกูลกันหรือหลักภราดรภาพ (ใช้แนวทางการประกันสังคม) แนวคิดสิทธิขั้นพื้นฐาน หรือการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส แนวนโยบายจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกำหนดคุณค่าเหล่านี้

ทำไมเราต้องรู้  ว่าเพราะอะไร กลุ่มแกงค์ชราไลน์ถึงได้เข้ามามีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้น วันนี้มารอดูข้อมูลกัน

งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารองค์กร

ไทย...กับการก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุแบบสุดยอดในอัตราที่เร็วกว่าญี่ปุ่น

” ได้ชี้ให้เห็นภาพการดูแลผู้สูงอายุในสังคมไทย ผ่านการศึกษารูปแบบการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุไทยเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการใช้ชีวิตร่วมกันของสมาชิกในครัวเรือนผู้สูงอายุ และชี้ให้เห็นนัยยะของการดูแลผู้สูงอายุในครัวเรือนเปราะบาง รวมถึงความต้องการสนับสนุนของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ

เดินหน้าความร่วมมือระดับภูมิภาคเพื่อสังคมสูงวัย

 “ตัวอย่างเช่น ถ้าเรามองว่าคุณภาพของผู้สูงวัยจะดีขึ้นหากได้ทำงาน รัฐก็ต้องออกกฎหมายอนุญาตให้ว่าจ้างผู้สูงอายุทำงานได้ พร้อมแรงจูงใจด้านการลดหย่อนภาษี คำถามจึงตกอยู่ที่ภาคเอกชนว่าพร้อมเพียงใดที่จะรับผู้สูงอายุเข้าทำงาน แล้วภาครัฐเองจะช่วยเหลือทุกฝ่ายอย่างไร” รศ.ดร.นพพล กล่าวทิ้งท้าย

เปิดภารกิจตามล่า "พิษแมงป่อง" หนึ่งในของเหลวที่ราคาแพงที่สุดในโลก

“จากงานวิจัยในจีน แม้ว่าจำนวนผู้สูงอายุที่ระบุว่าต้องการอยู่ตามลำพังอาจจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่เราไม่มีทางรู้ได้ว่า สังคมผู้สูงอายุ ถ้าเลือกได้ ผู้สูงอายุอยากจะอยู่ตามลำพังจริงไหม และถ้าต้องอยู่ตามลำพัง จะอยู่ได้ไหม งานวิจัยในยุคหลังหันมาให้ความสนใจกับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุตามลำพังมากขึ้น และเน้นไปที่การประดิษฐ์เทคโนโลยีเพื่อช่วยผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพัง เช่น การเปลี่ยนบ้านให้เป็น intelligent home การผลิตเทคโนโลยีขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน และการติดตั้งอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินที่ผู้สูงอายุสามารถจัดการได้เอง ในปัจจุบัน การทำบ้านในลักษณะนั้นเป็นเรื่องของตลาด อยากอยู่ต้องมีเงิน แต่ถ้าไม่มีเงิน รัฐควรจะช่วยเหลือหรือไม่ อย่างไร ประเด็นเหล่านี้ต้องไขกันต่อ หากเราต้องการให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตัวเองให้ได้มากที่สุดและนานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้”

ทางออกวิกฤตราคาโกโก้ไทย “ศูนย์นวัตกรรมการวิจัยและพัฒนาโกโก้ไทยเพื่อความยั่งยืน จุฬาฯ” เติมหวังให้เกษตรกรและธุรกิจโกโก้ไทย

จากโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ชีวิตของผู้สูงวัยไทยในวันนี้และวันหน้าจะเป็นอย่างไร คนไทยและสังคมไทยเตรียมความพร้อมไว้แค่ไหน อะไรคือสิ่งที่ทุกฝ่ายควรเตรียมความคิดและลงมือทำ รองศาสตราจารย์ ดร.นพพล วิทย์วรพงศ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตในมุม “เศรษฐศาสตร์” เพื่อให้ทุกฝ่ายทั้งภาคประชาชน เอกชน และรัฐ เตรียมการรับมือผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้น เพื่อสร้างความสุขและคุณภาพชีวิตในบั้นปลายของทุกคนที่กำลังจะเป็นผู้สูงวัยในวันหน้า

Report this page